Process Description
Process Description tells how to do something or how something works. An important point to remember is that the direction always clear and easy to follow. The following signal phrases are : Firstly ,to begin with, to start with, next, then, second, thirdly , after that and finally.
คำอธิบายของกระบวนการ
คำอธิบายของกระบวนการบอกวิธีการทำบางสิ่งบางอย่าง จุดสำคัญที่ควรจดจำคือทิศทางที่ชัดเจน และง่ายต่อการทำตามเสมอ สังเกตได้จากคำเหล่านี้: ที่เดิมที ไปด้วยตั้งแต่เริ่ม การเริ่มต้น ด้วย ถัดไป แล้ว สอง ประการที่สาม หลังจากนั้น และท้ายที่สุด
Firstly ประการแรก
to begin with เมื่อต้องการเริ่มต้นด้วย
to start with เริ่มต้นด้วย
next ถัดไป
then แล้ว
second ที่สอง
thirdly ประการที่สาม
after that and finally หลังจากนั้น และท้ายที่สุด
ตัวอย่าง
How do you make a telephone call? First you lift the telephone receiver. Then you listen for the dial tone. Next you dial the number you want. After that you carry on a conversation. Finally, when finished, you put the receiver back on the telephone base.
แปล
คุณจะทำการโทรศัพท์ได้อย่างไร ครั้งแรก คุณยกโทรศัพท์และหาตัวรับสัญญาณ แล้ว คุณควรฟังเสียงสัญญาณ ถัดไป คุณเรียกหรือกดเลขหมายเลขที่คุณต้องการสนทนาด้วย หลังจาก ที่การเชื่อมต่อสำเร็จคุณทำการสนทนา ขั้นตอนสุดท้าย เมื่อเสร็จสิ้นการสนทนา คุณควรใส่ตัวรับสัญญาณบนฐานโทรศัพท์กลับมาและวางสายการสนทนา
Topic
A telephone call = (โทรศัพท์)
ชื่อเรื่อง
They are five making a telephone call.
Processes for making a telephone call.
They are many to make a telephone call
Main idea How do you make a telephone call ?
= (คุณจะทำให้โทรศัพท์โทรออกได้อย่างไร)
Supporting details--- conversation (การสนทนา)
Main idea How do you make a telephone call ?
= (คุณจะทำให้โทรศัพท์โทรออกได้อย่างไร)
Supporting details--- conversation (การสนทนา)
ข้อมูลเพิ่มเติม
การอธิบายการประมวลผล (Process Description)
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification
จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่
จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ
1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย
จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ
1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย
การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ
2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์
2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์
ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์
3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ
3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ
โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้
การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย
วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ
1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)
2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)
เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้
โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
1. ความชอบของผู้ใช้
2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)
3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น